ตัวดำเนินการ (Operator)
ตัวดำเนินการ(Operator) ในการเขียนโปรแกรมภาษาซี มีอยู่ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้
1) ตัวคำนวณทางคณิตศาสตร์ (arithmetic operators)
2) ตัวดำเนินการทางตรรกะ (logical operator) 3) ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ (relational operator)
ซึ่งการดำเนินการแต่ละประเภทจะมีเครื่องหมายที่ต้องใช้เพื่อเขียนคำสั่ง สำหรับการดำเนินการประเภทนั้น ๆ ดังรายละเอียด
![]()
เป็นตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ เครื่องหมายที่ใช้ในการบวก ลบ คูร หาร ตัวเลข และอื่น ๆ ดังตาราง
| |||||||||||||||||||||||||
ตารางแสดงตัวดำเนินการของภาษาซี
| |||||||||||||||||||||||||
![]()
ในบางครั้งนิพจน์ประกอบด้วยตัวดำเนินการมากมาย ทำให้เกิดความยุ่งยากในการพิจารณาขั้นตอนการทำงานของตัวดำเนินการ จึงได้ตั้งกฎเกี่ยวกับลำดับการทำงานก่อนหลังของตัวดำเนินการ (Operator) ดังตาราง
| |||||||||||||||||||||||||
ตารางแสดงลำดับการทำงานของตัวดำเนินการ
| |||||||||||||||||||||||||
ตัวดำเนินการที่มีความสำคัญอยู่ในระดับเดียวกัน ให้ทำงานตามขั้นตอนจากซ้ายไปขวาเป็นหลัก ดังตัวอย่างในตาราง
| |||||||||||||||||||||||||
ตารางแสดงลำดับการทำงานของตัวดำเนินการ
| |||||||||||||||||||||||||
![]()
เครื่องหมายตรรกะ มีจุดประสงค์ใช้ในการเปรียบเทียบเพื่อตัดสินใจ
เครื่องหมายตรรกะที่ใช้ในภาษาซี มีดังนี้
| |||||||||||||||||||||||||
![]()
ใช้เปรียบเทียบค่า 2 ค่า เพื่อแสดงการเลือก ซึ่งโปรแกรมโดยทั่วไปใช้ในการทดสอบ
เงื่อนไขตามที่กำหนด การเปรียบเทียบโดยการเท่ากันของ 2 ค่า จะใช้เครื่องหมาย ==
| |||||||||||||||||||||||||
![]()
นิพจน์(Expression) คือ การนำตัวแปร ค่าคงที่ และตัวดำเนินการมาเขียนประกอบกัน โดยใช้เครื่องหมายอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นตัวเชื่อม และเพื่อให้ตัวแปรภาษาสามารถเข้าใจและคำนวณหาผลลัพธ์ได้ตามที่เราต้องการ โดยมีกฎเกณฑ์ทั่ว ๆ ไปในการเขียนนิพจน์ของภาษาซี มีดังนี้
1) เขียนตัวอักษรหลายตัวติดกันได้โดยไม่มีเครื่องหมายคั่น เช่น XY ถือเป็น 1 ตัวแปร
2) กรณีนิพจน์มีค่าของตัวแปรหรือค่าคงที่ต่างชนิดกันในนิพจน์เดียวกัน กลไกของภาษาซี จะเปลี่ยนชนิดของข้อมูลที่มีขนาดเล็กให้เป็นชนิดของข้อมูลที่ใหญ่ขึ้น ดังนั้นจึงควรระวังในการตั้งตัวแปรเพื่อเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการดำเนินการของนิพจน์มีค่าของตัวแปรหรือค่าคงที่ต่างชนิดกัน ซึ่งตัวแปรที่ตั้งขึ้น ควรเป็นชนิดของข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดในนิพจน์นั้น ดังตัวอย่าง ![]() ![]()
ตัวอย่างนิพจน์
| |||||||||||||||||||||||||
วันอังคารที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2558